นางสาวจริญญา แสงวงศ์ 1 สทค 2 รหัส 026
นางสาวจิรนันท์ จานศิลา 1 สทค 2 รหัส 028
การแสดงค่าความเข้มของแสงด้วย 7-Segment
LDR : Light Dependent
Resistor)
แอลดีอาร์
(LDR : Light Dependent Resistor) คือ
ความต้านทานชนิดที่ไวต่อแสง กล่าวคือ
ตัวความต้านทานนี้สามารถเปลี่ยนสภาพทางความนำไฟฟ้า ได้เมื่อมีแสงมาตกกระทบ
บางครั้งเรียกว่าโฟโตรีซีสเตอร์ ( Photo Resistor) หรือ โฟโตคอนดัคเตอร์ (Photo Conductor) เป็นตัวต้านทานที่ทำมาจากสารกึ่งตัวนำ (Semiconductor)
ประเภทแคดเมี่ยมซัลไฟด์ ( Cds : Cadmium Sulfide)
หรือแคดเมี่ยมซิลินายส์ ( CdSe : Cadmium Selenide)
ซึ่งทั้งสองตัวนี้ก็เป็นสารประเภทกึ่งตัวนำ
เอามาฉาบลงบนแผ่นเซรามิกที่ใช้เป็นฐานรองแล้วต่อขาจากสารที่ฉาบ ไว้ออกมา
รูปที่ 1 โครงสร้าง LDR
รูปร่างของ
LDR ในรูปที่ 1 ส่วนที่ขดเป็นแนวเล็กๆสี
ดำทำหน้าที่เป็นตัวต้านทานไวแสง และ แนวสีดำ นั้นจะแบ่งพื้นที่ของตัวมันออกเป็น 2
ข้าง สีทองนั้น เป็นตัวนำไฟฟ้าที่ทำหน้าที่สัมผัส กับตัวต้านทานไวแสง
เป็นที่สำหรับต่อขาออกมาภายนอก หรือ เรียกว่าอิเล็กโทรด
ที่เหลือก็จะเป็นฐานเซรามิก และ อุปกรณ์ สำหรับห่อหุ้มมัน ซึ่งมีได้หลายแบบ
สมบัติทางแสง
การทำงานของ LDR เพราะว่าเป็นสารกึ่งตัวนำ เวลามีแสงตกกระทบลงไปก็จะถ่ายทอดพลังงาน ให้กับสาร ที่ฉาบอยู่ ทำให้เกิดโฮลกับอิเล็กตรอนวิ่งกันพล่าน. การที่มีโฮล กับอิเล็กตรอนอิสระนี้มากก็เท่ากับ ความต้านทานลดลงนั่นเอง ยิ่ง ความเข้มของแสงที่ตกกระทบมากเท่าไร ความต้านทานก็ยิ่งลดลงมากเท่านั้น
การทำงานของ LDR เพราะว่าเป็นสารกึ่งตัวนำ เวลามีแสงตกกระทบลงไปก็จะถ่ายทอดพลังงาน ให้กับสาร ที่ฉาบอยู่ ทำให้เกิดโฮลกับอิเล็กตรอนวิ่งกันพล่าน. การที่มีโฮล กับอิเล็กตรอนอิสระนี้มากก็เท่ากับ ความต้านทานลดลงนั่นเอง ยิ่ง ความเข้มของแสงที่ตกกระทบมากเท่าไร ความต้านทานก็ยิ่งลดลงมากเท่านั้น
รูปที่ 2 ตัวอย่างกราฟแสดงความไวต่อแสงความถี่ต่าง ๆ ของ LDR
ทั้ง 2 แบบ
เมื่อเทียบกับความไวของตาคน
ในส่วนที่ว่าแสงตกกระทบนั้น มิใช่ว่าจะเป็นแสงอะไรก็ได้
เฉพาะแสงในช่วงความยาวคลื่นประมาณ 4,000 อังสตรอม ( 1 อังสตรอม เท่ากับ 10 - 10 เมตร ) ถึงแระมาณ 10,000 อังสตรอมเท่านั้นที่จะใช้ได้
( สายตาคนจะเห็นได้ ในช่วงประมาณ 4,000 อังสตรอม ถึง 7,000
อังสตรอม ) ซึ่งคิดแล้วก็เป็นช่วงคลื่นเพียงแคบ ๆ เมื่อเทียบกับการทำงาน
ของอุปกรณ์ไวแสง ประเภทอื่น ๆ แต่ถึงอย่างไรแสงในช่วงคลื่นนี้
ก็มีอยู่ในแสงอาทิตย์ แสงจากหลอดไฟแบบไส้ และ แสงจากหลอดฟลูออเรสเซนต์ ด้วย หรือ
ถ้าจะคิดถึงความยาวคลื่น ที่ LDR จะตอบสนองไวที่สุดแล้ว
ก็มีอยู่หลาย ความยาวคลื่น โดยทั่วไป LDR ที่ทำจากแคดเมียมซัลไฟด์
จะไวต่อแสงที่มีความยาวคลื่นในช่วง 5,000 กว่า อังสตรอม.
ซึ่งเราจะเห็นเป็นสีเขียว ไปจนถึงสีเหลือง สำหรับ บางตัวแล้ว ความ
ยาวคลื่นที่ไวที่สุดของมันใกล้เคียงกับความยาวคลื่นที่ไวที่สุดของตาคนมาก (
ตาคนไวต่อความ ยาวคลื่น ประมาณ 5,550 อังสตรอม ) จึงมักจะใช้ทำเป็นเครื่องวัดแสง
ในกล้องถ่ายรูป ถ้า LDR ทำจาก แคดเมียมซีลิไนด์ก็จะไวต่อ
ความ ยาวคลื่นในช่วง 7,000 กว่า อังสตรอม ซึ่งไปอยู่ใน
ช่วงอินฟราเรดแล้ว
ผลตอบสนองทางไฟฟ้า
อัตราส่วนระหว่างความต้านทานของ LDR ในขณะที่ไม่มีแสง กับขณะที่มีแสง อาจจะเป็นได้ตั้งแต่ 100 เท่า 1,000 เท่า หรือ 10,000 เท่า
แล้วแต่รุ่น แต่โดยทั่วไปแล้วค่าความต้านทานในขณะที่ไม่มีแสงจะอยู่ในช่วง ประมาณ 0.5
MW ขึ้นไป ในที่มืดสนิทอาจขึ้นไปได้มากกว่า 2 MW และ ในขณะที่มีแสงจะเป็นประมาณ 10 - 20kW ลง ไป
อาจจะเหลือเพียงไม่กี่โอห์ม หรือ ไม่ถึงโอห์มก็ได้. ทนแรงดันสูงสุดได้ไม่ต่ำกว่า 100
V และ กำลังสูญเสีย อย่างต่ำประมาณ 50 mW
รูปที่ 3 ผลของการเปลี่ยนความเข้มแสงในทันทีทันใดกับ LDR
นอกเหนือจากลักษณะสมบัติต่างๆ เหล่านี้แล้วยังมีอีกอย่างหนึ่งที่สำคัญ
คือ ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นจากความ เข้มแสดง เปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลัน
ซึ่งจะดูตัวอย่างได้ในรูปที่ 3 ถ้า LDR ได้รับแสงที่มีความเข้มสูงดังเส้น ( ก )
ความต้านทานจะมีค่า ต่ำ และ ในทันทีที่ความเข้มของแสงถูกลดลงหลือเพียงระดับอ้างอิง
ความต้านทานก็จะค่อยๆ เพิ่มขึ้นไปจนถึงค่าความต้านทาน
ที่มันควรจะเป็นในระดับอ้างอิง. แต่แทนที่มันจะไปหยุดอยู่ระดับอ้างอิง มันกลับ
เพิ่มเลยขึ้นไปอีกแล้วจึงจะลดลงมาอยู่ในระดับ อ้างอิง เหมือนกับว่า
เบรกมันไม่ค่อยดี และ ในทำนองเดียวกันถ้า เก็บมันไว้ในที่ความเข้มแสงน้อยๆ
แล้วเปลี่ยนความเข้มเป็นระดับ อ้างอิงทันที ดังในรูป (ข ) ความต้านทานก็จะลด
เลยต่ำลงมาจากระดับอ้างอิงแล้วจึงขึ้นไปใหม่ ยิ่งความเข้มของแสงเท่ากัน LDR
แบบแคดเมียมซีนิไนด์ จะใช้เวลา
ในการเข้าสู่สภาวะที่มันควรจะเป็นน้อยกว่า แบบ แคดเมียมซัลไฟต์
แต่ก็จะวิ่งเลยไปไกลกว่าด้วย และ อีกอย่างหนึ่ง ความเร็วในการเปลี่ยนระดับความต้านทานจากค่าหนึ่งไปอีกค่าหนึ่งช้ามาก.
ซึ่งจะอยู่ในช่วงของมิลลิวินาทีหรือ บาง ทีก็เป็นวินาที เลย จึงทำให้ LDR ใช้ได้ กับงานความถี่ต่ำๆ เท่านั้น ทำเป็นเครื่องวัดแสง ในรูปที่ 4 เป็นวงจรเครื่องวัดแสงแบบง่ายจริงๆ LDR
ที่ใช้ก็ควรจะมีอัตราส่วนของค่าความต้านทาน ระหว่างไม่มีแสง
กับมีแสงมากๆ หน่อย เวลาใช้ต้องระวังอย่าให้เข็มมิเตอร์ตีเกินสเกล
ของแพงมาเสียง่ายๆ อย่าง นี้มันน่าเจ็บใจตัวเอง
รูปที่ 4 เครื่องวัดแสงแบบง่ายที่สุด
อีกวงจรหนึ่งในรูปที่ 5 เป็นวงจรที่ดัดแปลงให้ดีขึ้นแล้วโดยเอาออปแอมป์เบอร์ 741 เข้ามาช่วยทำให้ไวขึ้น มาก จะเอา ดิจิตอลมัลติมิเตอร์มาต่อแทนแบบเข็มก็ได้
แต่ต้องระวังแสงจาก LED จะไปกวนการทำงานของ LDR
รูปที่ 5 วงจรเครื่องวัดแสงที่ปรับปรุงขึ้นแล้ว
สวิตซ์ทำงานด้วยแสง
การใช้ LDR ทำงานในวงจรปิดเปิดสวิตซ์ เราก็ จะใช้เพียง 2 อย่างเท่านั้น คือ มีแสง หรือ ไม่มีแสง. โดย ทั่วไปเราจะ ใช้วิธีเอามาอนุกรมกับตัวต้านทานตัวหนึ่ง แล้วต่อเป็นวงจรแบ่งแรงดันออกมาตามรูปที่ 6 อย่างในรูป ( ก ) จะทำงานดังนี้ คือ ถ้ามีแสงสว่าง LDR จะมีความต้านทานต่ำ ทำให้แรงดันส่วนใหญ่มาตกคร่อม R 1 เสียหมด แรงดันเอาต์พุต จึงสูงเกือบเท่า แรงดันไฟเลี้ยง และ ถ้าไม่มี แสง LDR จะมีความต้านทานสูง แรงดันส่วนใหญ่จะ ไปตกที่ LDR แรงดันเอาต์พุต จึงเกือบเป็น 0 โวลต์
การใช้ LDR ทำงานในวงจรปิดเปิดสวิตซ์ เราก็ จะใช้เพียง 2 อย่างเท่านั้น คือ มีแสง หรือ ไม่มีแสง. โดย ทั่วไปเราจะ ใช้วิธีเอามาอนุกรมกับตัวต้านทานตัวหนึ่ง แล้วต่อเป็นวงจรแบ่งแรงดันออกมาตามรูปที่ 6 อย่างในรูป ( ก ) จะทำงานดังนี้ คือ ถ้ามีแสงสว่าง LDR จะมีความต้านทานต่ำ ทำให้แรงดันส่วนใหญ่มาตกคร่อม R 1 เสียหมด แรงดันเอาต์พุต จึงสูงเกือบเท่า แรงดันไฟเลี้ยง และ ถ้าไม่มี แสง LDR จะมีความต้านทานสูง แรงดันส่วนใหญ่จะ ไปตกที่ LDR แรงดันเอาต์พุต จึงเกือบเป็น 0 โวลต์
รูปที่ 6 หลักการใช้ LDR ในวงจรปิดเปิดสวิตซ์
ในรูปที่ 6 ( ข ) วงจรจะทำงาน
ในทางตรงข้าม เพียงแต่สลับที่ระหว่าง LDR กับ R 1 เวลามีแสงสว่าง เอาต์พุตก็จะเกือบ เป็น 0 โวลต์
เวลาไม่มีแสงสว่างเอาต์พุตก็เกือบเท่าแรงดันไฟเลี้ยงจะเห็นได้ว่ากลับกับกรณีแรก
รูปที่ 7 ตัวอย่างวงจรควบคุมสวิตซ์โดยรีเลย์จะทำงานเมื่อไม่มีแสงสว่าง
ทั้ง 2 กรณี
จะมีวงจรที่ต่อออกไปสำหรับจับสัญญาณว่ามีแสงสว่างหรือไม่. แล้วนำไปควบคุมสวิตช์
อีกทีให้ ทำงานใน กรณีที่ต้องการ. ในรูปที่ 7 เป็นตัวอย่างวงจรซึ่งรีเลย์จะทำงานเมื่อไม่มีแสงสว่าง
ซึ่งถ้าเราไม่ต้องการแบบนี้ และ อยากให้รีเลย์ ทำงาน
เมื่อมีแสงสว่างก็เพียงแต่สลับที่ระหว่าง LDR กับความต้านทานปรับค่าได้
100 kW เท่านั้น
รูปที่ 8 วงจรเตือนภัยเป็นเสียงเมื่อมีแสงสว่างกระทบ LDR
ในรูปที่ 8 ก็เป็น
ตัวอย่างวงจรอีกอันหนึ่งทำงานเมื่อมีแสงสว่าง ตัวอย่างอื่นๆ ก็ได้แก่
วงจรจับควันไฟ , วงจรกะพริบ
เพื่อความปลอดภัยเมื่อมีรถยนต์แล่นผ่านมา. ซึ่งโดยหลักการแล้วไม่ยาก
คงจะนำไปดัดแปลงใช้กันได้ ใช้ LDR ตลอดช่วง
รูปที่ 9 ตัวอย่างวงจรเปลี่ยนสัญญาณแสงเป็นสัญญาณเสียง
นอกจากวงจรเครื่องวัดแสง ซึ่งเป็นที่รู้จักกันดีในการประยุกต์ LDR ให้ใช้งานแบบทุกช่วงการเปลี่ยนแปลงแล้ว ยังมีคน
ดัดแปลงไปใช้ในวงจรอื่นๆ อีก เช่น วงจรแปลงสัญญาณอะนาลอก เป็นสัญญาณดิจิตอล
เพื่อเชื่อมต่อส่วนที่เป็น วงจรอะนาล็อก ให้ส่งสัญญาณผ่านเข้าไปทำงานในวงจรดิจิตอลได้
ดังเช่น รูปที่ 9 เป็นวงจรแปลงระดับความเข้มแสง
ซึ่งเป็นสัญญาณ อะนาล็อกให้ออกมาเป็นจำนวนลูกคลื่นสี่เหลี่ยม
ยิ่งความเข้มแสงมากเท่าไหร่ จำนวนลูกคลื่น สี่เหลี่ยมก็จะยิ่งออกมามากเท่านั้น
วงจรนี้ ใช้ไอซี 555 ความถี่ของคลื่นที่ออกมาจะได้ประมาณ 22kHz
ถ้าเอาไป รับแสงใกล้ๆ หลอดไฟขนาด 60 วัตต์
แต่จะ เหลือเพียงประมาณ 1Hz ในที่มืด
ถ้าเอาลำโพงอนุกรมกับตัวต้านทาน 220W ไปต่อเข้ากับขา 3
และ ไฟบวกก็จะได้ยินเสียง สูงๆ ต่ำๆ ตามความเข้มของแสง
ลองดูก็ได้คงจะสนุกไม่เลว และ ตัวอย่างอีกอันหนึ่งจะเห็นได้ในรูปที่ 10 เป็นวงจรเปิด - หรี่ - ปิดไฟ
ซึ่งจะควบคุมให้หลอดไฟสว่างขึ้นในขณะ
ที่แสงสว่างของสภาพแวดล้อมลดลงเป็นตัวอย่างที่ดีเหมือนกัน
รูปที่ 10 วงจรเปิด-หรี่-ปิดไฟ
อ้างอิงข้อมูลจาก : http://www.mwit.ac.th/~ponchai/CAI_electronics/image/LDR.HTM
อุปกรณ์ที่ใช้
1.บอร์ด Arduino 1 ตัว
2.สาย USB 1 เส้น
3.โฟโต้บอร์ด 1 อัน
4.ไฟ LED 4 ดวง
5.ตัวต้านทาน 220 Ω 5 ตัว
6.ตัวต้านทาน 10 KΩ 1 ตัว
7. 7 Segment 1 ตัว
8. LDR 1 ตัว
6.ตัวต้านทาน 10 KΩ 1 ตัว
7. 7 Segment 1 ตัว
8. LDR 1 ตัว
9.สายไฟผู้-ผู้ 12 เส้น
10.โปรแกรม Arduino
11.PC / NoteBook
11.PC / NoteBook
รูปวงจร (Fritzing)
การแสดงค่าความเข้มของแสงด้วย LED (รูปที่3.1)
คลิก Download3.1 , Download3.2 เพื่อดาวน์โหลดรูปไปแก้เพิ่มเติม แต่ทั้งนี้ต้องมีโปรแกรม Fritzing อยู่ในเครื่องคอม ฯ ของเราก่อนนะคะ หากไม่มีสามารถโหลดได้ที่ DownloadProgramFritzing
Code : โปรแกรม Arduino
หลักการทำงาน มีดังนี้
- เมื่อเปิด Serial monitor ขึ้นมา
ทำให้ LDR มึดสนิท ใน Serial monitor จะขึ้นคำว่า dark และ LED1 จะติด LED2 ,3 และ 4 จะดับ
ทำให้ LDR สลัว ใน Serial monitor จะขึ้นคำว่า dim และ LED2 จะติด LED1 ,3 และ 4 จะดับ
ทำให้ LDR แสงปกติ ใน Serial monitor จะขึ้นคำว่า medium และ LED3 จะติด LED1 ,2 และ 4 จะดับ
ทำให้ LDR แสงสว่างมาก ใน Serial monitor จะขึ้นคำว่า bright และ LED4 จะติด LED1 ,2 และ 3 จะดับ
- เมื่อเปิด Serial monitor ขึ้นมา
ทำให้ LDR มึดสนิท ใน Serial monitor จะขึ้นคำว่า dark และ LED1 จะติด LED2 ,3 และ 4 จะดับ
ทำให้ LDR สลัว ใน Serial monitor จะขึ้นคำว่า dim และ LED2 จะติด LED1 ,3 และ 4 จะดับ
ทำให้ LDR แสงปกติ ใน Serial monitor จะขึ้นคำว่า medium และ LED3 จะติด LED1 ,2 และ 4 จะดับ
ทำให้ LDR แสงสว่างมาก ใน Serial monitor จะขึ้นคำว่า bright และ LED4 จะติด LED1 ,2 และ 3 จะดับ
Code การแสดงค่าความเข้มของแสงด้วย LED
/*
Switch statement
Demonstrates the use
of a switch statement. The switch statement allows you
to choose from among
a set of discrete values of a variable. It's like a
series of if
statements.
To see this sketch
in action, put the board and sensor in a well-lit room,
open the Serial
Monitor, and move your hand gradually down over the sensor.
The circuit:
- photoresistor from
analog in 0 to +5V
- 10K resistor from
analog in 0 to ground
created 1 Jul 2009
modified 9 Apr 2012
by Tom Igoe
This example code is
in the public domain.
http://www.arduino.cc/en/Tutorial/SwitchCase
*/
// these constants won't change. They are the lowest and
highest readings you
// get from your sensor:
const int sensorMin = 0;
// sensor minimum, discovered
through experiment
const int sensorMax = 600;
// sensor maximum, discovered through experiment
int LED1 = 2;
int LED2 = 3;
int LED3 = 4;
int LED4 = 5;
void setup() {
// initialize serial
communication:
Serial.begin(9600);
pinMode
(LED1,OUTPUT);
pinMode
(LED2,OUTPUT);
pinMode
(LED3,OUTPUT);
pinMode
(LED4,OUTPUT);
}
void loop() {
// read the sensor:
int sensorReading =
analogRead(A0);
// map the sensor
range to a range of four options:
int range = map(sensorReading,
sensorMin, sensorMax, 0, 3);
// do something
different depending on the range value:
switch (range) {
case 0: // your hand is on the sensor
Serial.println("dark");
digitalWrite(LED1, HIGH);
digitalWrite(LED2,
LOW);
digitalWrite(LED3, LOW);
digitalWrite(LED4, LOW);
break;
case 1: // your hand is close to the sensor
Serial.println("dim");
digitalWrite(LED1, LOW);
digitalWrite(LED2, HIGH);
digitalWrite(LED3,
LOW);
digitalWrite(LED4, LOW);
break;
case 2: // your hand is a few inches from the
sensor
Serial.println("medium");
digitalWrite(LED1, LOW);
digitalWrite(LED2, LOW);
digitalWrite(LED3, HIGH);
digitalWrite(LED4, LOW);
break;
case 3: // your hand is nowhere near the sensor
Serial.println("bright");
digitalWrite(LED1, LOW);
digitalWrite(LED2, LOW);
digitalWrite(LED3, LOW);
digitalWrite(LED4, HIGH);
break;
}
delay(1); // delay in between reads for stability
}
Code การแสดงค่าความเข้มของแสงด้วย 7 Segment
หลักการทำงาน มีดังนี้
- เมื่อเปิด Serial monitor ขึ้นมา
ทำให้ LDR มึดสนิท ใน Serial monitor จะขึ้นคำว่า dark และเลข 1 จะขึ้นที่ 7 Segment
ทำให้ LDR สลัว ใน Serial monitor จะขึ้นคำว่า dim และเลข 2 จะขึ้นที่ 7 Segment
ทำให้ LDR แสงปกติ ใน Serial monitor จะขึ้นคำว่า medium และเลข 3 จะขึ้นที่ 7 Segment
ทำให้ LDR แสงสว่างมาก ใน Serial monitor จะขึ้นคำว่า bright และเลข 4 จะขึ้นที่ 7 Segment
/*
Switch statement
Demonstrates the use
of a switch statement. The switch statement allows you
to choose from among
a set of discrete values of a variable. It's like a
series of if
statements.
To see this sketch
in action, put the board and sensor in a well-lit room,
open the Serial
Monitor, and move your hand gradually down over the sensor.
The circuit:
- photoresistor from
analog in 0 to +5V
- 10K resistor from
analog in 0 to ground
created 1 Jul 2009
modified 9 Apr 2012
by Tom Igoe
This example code is
in the public domain.
http://www.arduino.cc/en/Tutorial/SwitchCase
*/
// these constants won't change. They are the lowest and
highest readings you
// get from your sensor:
const int sensorMin = 0;
// sensor minimum, discovered through experiment
const int sensorMax = 600;
// sensor maximum, discovered through experiment
int LED1 = 2;
int LED2 = 3;
int LED3 = 4;
int LED4 = 5;
int LED5 = 6;
int LED6 = 7;
int LED7 = 8;
int LED8 = 9;
int LED9 = 10;
void setup() {
// initialize serial
communication:
Serial.begin(9600);
pinMode
(LED1,OUTPUT);
pinMode
(LED2,OUTPUT);
pinMode
(LED3,OUTPUT);
pinMode
(LED4,OUTPUT);
pinMode
(LED5,OUTPUT);
pinMode (LED6,OUTPUT);
pinMode
(LED7,OUTPUT);
pinMode
(LED8,OUTPUT);
pinMode
(LED9,OUTPUT);
}
void loop() {
// read the sensor:
int sensorReading =
analogRead(A0);
// map the sensor
range to a range of four options:
int range =
map(sensorReading, sensorMin, sensorMax, 0, 3);
// do something
different depending on the range value:
switch (range) {
case 1: // your hand is on the sensor
Serial.println("dark");
digitalWrite(2, HIGH);
digitalWrite(7, HIGH);
digitalWrite(6,
LOW);
digitalWrite(9, HIGH);
digitalWrite(3, HIGH);
digitalWrite(4, LOW);
digitalWrite(10,HIGH);
break;
case 2: // your hand is close to the sensor
Serial.println("dim");
digitalWrite(2,
LOW);
digitalWrite(7, LOW);
digitalWrite(6, LOW);
digitalWrite(9, HIGH);
digitalWrite(3, LOW);
digitalWrite(4, HIGH);
digitalWrite(10,LOW);
break;
case 3: // your hand is a few inches from the
sensor
Serial.println("medium");
digitalWrite(2, HIGH);
digitalWrite(7, LOW);
digitalWrite(6, LOW);
digitalWrite(9, HIGH);
digitalWrite(3, LOW);
digitalWrite(4, LOW);
digitalWrite(10,LOW);
break;
case 4: // your hand is nowhere near the sensor
Serial.println("bright");
digitalWrite(2, HIGH);
digitalWrite(7, HIGH);
digitalWrite(6, LOW);
digitalWrite(9, LOW);
digitalWrite(3, HIGH);
digitalWrite(4, LOW);
digitalWrite(10,LOW);
break;
}
delay(1); // delay in between reads for stability
}
คลิก DownloadCode3.1 , DownloadCode3.2 เพื่อนำไปแก้ไขเพิ่มเติม แต่ทั้งนี้ต้องมีโปรแกรม Arduino อยู่ในเครื่องคอม ฯ
ของเราก่อนนะคะ หากไม่มีสามารถโหลดได้ที่ DownloadArduino
VDO :
การแสดงค่าความเข้มของแสงด้วย LED
การแสดงค่าความเข้มของแสงด้วย 7 Segment